กฎหมายอาหารและยา สอบถาม โทร: 02-116-1310 / 02-161-0155 / 086-558-9695 LINE ID: @cmtlaw อีเมล : toebkk@hotmail.com

ผู้ผลิตยาแผนปัจจุบัน ติดปัญหาใดเรามีทนายพร้อมดูแล    สอบถาม โทร: 02-116-1310 / 02-161-0155 / 086-558-9695

 

  • ผลิตยาแผนปัจจุบันโดยไม่ได้รับอนุญาต มีโทษจำคุก ไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 10,000 บาท
  • ผลิตยาแผนโบราณโดยไม่ได้รับอนุญาต มีโทษจำคุก ไม่เกิน 3 ปี และปรับไม่เกิน 5,000 บาท
  • ผลิตยาที่ไม่ได้ขึ้นทะเบียนตำรับ มีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 5,000 บาท
  • ผลิตยาปลอม มีโทษจำคุกตั้งแต่ 3 ปี ถึงตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่ 10,000 บาท ถึง 50,000 บาท
  • โฆษณาขายยาโดยไม่ได้รับอนุญาต มีโทษปรับไม่เกิน 100,000 บาท
  • ขายยาแผนปัจจุบันโดยไม่ได้รับอนุญาต มีโทษจำคุก ไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 10,000 บาท  
  • ขายยาแผนโบราณโดยไม่ได้รับอนุญาต มีโทษจำคุก ไม่เกิน 3 ปี และปรับไม่เกิน 5,000 บาท
  • ขายยาที่ไม่ได้ขึ้ทะเบียนตำรับ มีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 5,000 บาท
  • ขายยาปลอม มีโทษจำคุกตั้งแต่ 1 ปี ถึง 20 ปี และปรับตั้งแต่ 2,000 บาท ถึง 10,000 บาท
  • โฆษณาขายยาโดยไม่ได้รับอนุญาต มีโทษปรับไม่เกิน 100,000 บาท

ผลิตภัณฑ์สุขภาพ หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตและเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีวัตถุประสงค์การใช้เพื่อสุขภาพอนามัย รวมถึงเป็นผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพด้านการแพทยและสาธารณสุขตลอดจนผลิตภัณฑ์ที่อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย

 

การใช้วัตถุเจือปนอาหาร ไส้กรอกหมู แหนม แฮม กุนเชียง และหม่ำ เป็นผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์แปลรูป ที่มีความเสี่ยงต่อการบริโภค เนื่องจากเป็นอาหารที่มีโปรตีนและค่า water activity เหมาะกับการเจริญของเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรค ผู้ประกอบการจึงนิยมใช้วัตถุกันเสียเพื่อยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ เพื่อป้องกันการการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย ไนเตรตสามารถเปลี่ยนเป็นไนไตรต์ได้ทั้งจากปฏิกริยาที่เกิดขึ้นภายในร่างกายและระหว่างเก็บรักษาอาหารในสภาวะที่ไม่เหมาะสม ไนไตรต์สามารถจับตัวกับเม็ดเลือดแดงเกิดเป็นเมทฮีโมโกลบิน ทำให้ฮีโมโกบินไม่สามารถจับตัวกับออกซิเจน มีผลให้การนำพาออกซิเจนไปสู้เซลล์ลดลง เมื่อปริมาณของเมทฮีโมโกลบินสูงขึ้น สภาวะการขาดออกซิเจนในเซลล์จะยิ่งรุนแรงมากขึ้นจนเกิดอาการตัวเขียวได้ ผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนเพลีย หายใจหอบถี่ ปวดศีรษะ หัวใจเต้นแรงและเร็วกว่าปกติ 

(ที่มา วารสารอาหารและยา ฉบับเดือนม.ค.-เม.ย. 2563)

 

ยา ยาเป็นหนึ่งในผลิตภัณฑ์สุขภาพที่อยู่ในความดูแลของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ซึ้งต้องขออนุญาตทั้งการผลิต น้ำเข้า และโฆษณา ยาทุกตำรับต้องได้รับอนุญาตขึ้นทะเบียนตำรับยาก่อนจึงจะขายในประเทศได้ และต้องขายในสถานที่ที่ได้รับใบอนุญาตขายเท่านั้น นอกจากนี้ การโฆษณาขายยา จะต้องได้รับอนุญาตโฆษณาจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาก่อน จึงจะดำเนินการโฆษณาได้ สำหรับการโฆษณาขายยาทางสื่ออินเตอร์เน็ต ซึ่งปัจจุบันมักเรียกว่าสื่อออนไลน์